คาร์บอน-14 กับการตรวจหาอายุพระเครื่อง จริงหรือมั่ว???

ช่วงนี้ผมเห็นเวปหรือ เพจมากมายพูดถึงการตรวจพระแท้ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ คาร์บอน-14 ตรวจหาความเก่าของพระเครื่อง บ้างก็คิดราคาหลักพันในหารตรวจสอบ ในฐานะนักวิทยาศาสตร์เก่า วันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังว่า ตรวจหาอายุด้วยคาร์บอน-14 มันคืออะไร แล้วจะใช้ได้จริงกับการตรวจหาอายุพระเครื่องได้หรือไม่ อาจจะมีเนื้อหาเป็นเชิงเทคนิคนิดหน่อย แต่รับรองว่า ได้บทสรุปแน่นอน

7 วิธีในการดูพระเป็นอย่างรวดเร็ว

สวัสดีครับเพื่อนๆ ชาว พระเกจิดอทคอม วันนี้พระเกจิดอทคอม อยากแชร์ประสบการณ์ที่แอดมินเคยสงสัยในช่วงเรียนรู้วิธีดูพระว่า “จะทำอย่างไรจึงจะดูพระเป็น” เชื่อว่าเป็นคำถามยอดฮิตที่ผู้เริ่มสนใจพระเครื่องถามอยู่เสมอ

การดูพระเป็นไม่ใช่เรื่องยากแต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายครับ ซึ่งการดูพระเป็นในที่นี้หมายถึงว่าท่านสามารถแยกแยะออกว่า พระองค์ไหนเก๊ พระองค์ไหนแท้ 

เหรียญพระพุทธชินราช อินโดจีน 2485

ในปี พ.ศ. 2485 พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยได้ดำเนินการสร้างพระเครื่องพระพุทธชินราชชุดนี้ขึ้น โดยยึดเอาพระพุทธลักษณะจากองค์พระพุทธชินราชจากจังหวัดพิษณุโลกเป็นองค์ต้น แบบ มีการสร้างแบ่งเป็น 3 ชนิดด้วยกัน ประกอบด้วย

ชี้ตำหนิ เหรียญพุทโธภาสชินราชจอมมุนี ปี 2506

สุดยอดเหรียญดีเมืองระยอง ที่พระเกจิอยากแนะนำ “เหรียญพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี ปี2506” สร้างเพื่อเป็นที่ระลึกในงานฉลองพระอุโบสถ วัดสารนาถฯ  จ.ระยอง ปี 2506 พระรุ่นนี้ปลุกเสกโดยคณาจารย์หลายท่านอาทิ

ขอบเหรียญหลวงปู่ฝั้น รุ่นแรก ปี2507

เหรียญอาจารย์ฝั้น อาจาโร รุ่นแรก สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2507 โดย น.อ.เกษม งามเอก เนื่องในงานยกเสาโบสถ์น้ำ วัดป่าอุดมสมพร ลักษณะเป็นเหรียญรูปไข่ หูเชื่อม เหรียญอาจารย์ฝั้น อาจาโร รุ่นแรก มี 3 เนื้อ คือ เนื้อทองคำ อัลปาก้า และทองแดง แม่พิมพ์ด้านหน้า เป็นรูปเหมือนพระอาจารย์ฝั้นหันข้างครึ่งตัว ด้านล่างมีอักษรไทยว่า “พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร” ส่วน แม่พิมพ์ด้านหลัง ด้านบนจารึกชื่อ “วัดป่าถ้ำขาม สกลนคร” ช่วงกลางคือ พระคาถา “หัวใจพญานกยูงทอง” ส่วนด้านล่างระบุรุ่น “รุ่นแรก ศิษย์ ทอ.สร้างถวายเหรียญอาจารย์ฝั้น อาจาโร รุ่นแรก นี้จะมีเอกลักษณ์แม่พิมพ์เฉพาะเพื่อการพิจารณา เรียกกันว่า “ศูนย์มีจุด” คือ เลข “0” ตรง พ.ศ. “๒๕๐๗” จะมี “จุด” อยู่ด้านใน

ขอบเหรียญ จุดชี้พระแท้-เก๊

การศึกษาเรื่องราวของพระเครื่อง ประเภทเหรียญพระพุทธ และเหรียญพระคณาจารย์รุ่นเก่าๆ นั้น มีค่านิยมสูงมาก การทำปลอม จึงพัฒนาวิธีการทำให้ใกล้เคียงกับของแท้ยิ่งขึ้น โดยวิธีการที่ง่าย และเป็นที่นิยมที่สุด คือ การนำเหรียญแท้ไปถอดพิมพ์ ซึ่งจะทำให้ได้เหรียญปลอมที่มีจุดตำหนิทั้งด้านหน้าและด้านหลังใกล้เคียงกับ ของจริงมาก